« ข่าวหน้าก่อน ข่าวเก่า ข่าวหน้าต่อไป »  

คุณ วิลลี่ นักการทูตของหัวใจ

วันที่ 26.12.2006, Copyright © www.kothny.de

เมื่อ 2 ปีก่อนนี้ ในวันที่ 26 ธันวาคม ปี 2004 ได้เกิดคลื่นทสึนามิในแทบมหาสมุทรอินเดีย เมื่อคลื่นยักษ์ได้สงบลง ทุกอย่างก็ไม่เหมือนเดิม รวมถึงชีวิตของนักศึกษาและนักกีฬาอย่าง วิลลี่ โคธนี่ ซึ่งคลื่นยักษ์นี้ทำให้ชีวิตของเขาเปลี่ยนไป

คนต่างๆเรียกเขาว่า คุณ วิลลี่ ถึงแม้ว่าเขาจะมีอายุแค่ 27 ปีก็ตาม ในภาษาไทย คุณ แปลออกมาแล้วมีความหมายมากกว่าที่มี คุณเป็นคำเรียกที่ออกมาจากใจ และบุคคลที่ถูŦเรียกว่าคุณนั้นเป็นบุคคลที่ควรให้การนับถึอ คนที่จะถูกเรียกว่าคุณนั้นจะต้องเป็นคนที่ดีมาก และวิลลี่ ก็สมควรที่จะถูกเรียกว่าคุณเหมือนกัน: ในวันที่ 28 ธันวาŦม 2004 เขาได้ออกจากห้องเรียนของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และขึ้นเครื่องบิน บินไปภูเก็ตทันที เพื้อที่จะไปช่วยเหลือผู้ประสบถัยคลื่นทสึนามิ เขาไปช่วยซึ่งความสามารถขɵงเขามีประโยชน์มาก เขาสามารถพูดภาษาเยอรมัน ไทย และอังกฤษ  และเขาก็มีหัวใจของนักสู้

ชิวิต และ ด้านการกีฬา:

วีระเดช วิลลี่ โคธนี่ เกิดที่จังหวัด กาญจนบุรี (สะพานข้ามแม่นำ้แคว) นาย อีริค โคธนี่ นักหนังสือพิมพ์ของ SWR ได้รับเขาเป็นบุตรบุญธรรมเมื่อตอนที่เขามีอายุ 3 ปี ด้วยŮาเหตุนี้ทำให้เขา ได้รับสัญชาติเยอรมัน วีระเดช ใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองโคปแลนซ์ตั้งแต่ปี 2529 (ค.ส.1986) ตอนนี้ศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ในประเทศเยอรมันนีนั้น วิลลี่ (เนื่องจากว่า ย่าคนเยอรมันไม่สามารถเรียกชื่อวีระเดชได้) ไม่มีใครไม่รู้จักเขา โคธนี่ยังสร้างชื่อในด้านกีฬาอีกด้วย ในปี 2543 (ค.ส.2000) วิล ลี่ เป็นนักกีฬาเยอรมันนีคนแรก ที่สามารถคว้าเหรียญรางวัลจากการแข่งขันฟันดาบเซเบล(รุ่นเดี๋ยว) ในการแข่งกีฬาโอลิมปิกที่เมืองซิดนีย์ ในการแข่งขันครั้งนี้เɊายังสามารถคว้าเหรียญทองแดงที่สองมาได้จากการแข่งขันรุ่่นทีม ซึ่งเป็นผลงานที่ดีของแชมป์โลกรุ่นเล็กและแชมป์ยุโรป

และเขาก็สามารถชนะใจชาวเยอรมันนีอีกคร้ัง ในตอนรับเหรียญรางวัลที่ซิดนีย์ เขาได้ดันให้ เอโร เลฮ์มันน์ ซึ่งเป็นตัวสำรอง ขึ้นรับเหรียญรางวัลแทน แลได้มอบเหรีľญทองแดงรุ่นทีมให้กับเขา และหลังจากนั้นวิลลี่ ก็ได้รับรางวัล Fair-Play-Preis จากทาง ARD หลังจากนั้นเขาก็ได้รับรางวัล Silberne Lorbeerblatt จากประธานาธิบดีของประเทศเยอรมันนี

การช่วยเหลือ

การตัดสินใจให้ความช่วยเหลือของผู้ประสบภัยคลื่นทสึนามิ นั้นเหมือนกับในด้านการกีฬาของเขา จากที่เขาได้เห็นภาพข่าวผลของคลื่นทสึนามิผ่านทางสื่อนั้น เขาก็ต ัดสินใจบินไปทางตอนใต้ของประเทศไทยทันที เพื่อที่จะไปช่วยเหลือชาวเยอรมันนีที่ประสบภัย, ช่วยหาผู้้้เสียชีวิต และตอนท้าย คอยช่วยเหลือทีมงาน I.S.A.R. ซึ่งทางสถานทูต เยอรมันนีได้สงมาให้ความช่วยเหลือในด้านการค้นหา

หนึ่งอาทิตย์หลังจากเหตุการณ์ผ่านไป เขาก็เริ่มโครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยหมู่บ้านชาวประมงหนึ่งที่ประสบภัยครั้งนี้อย่างนักด้วย ซึ่งก็คือหมู่บ้านบางสัก ด้วยเงินบริจาคช่วยเหลือของชาวเยอรมันนี ทำให้การก่อสร้างบ้าน 30 หลังเสร็จ ในระยะเวลาแค่ 3 เดือนหลังเหตุการณ์คลื่นทสึนามิ ซึ่งเขาเองนั้นไม่มีเวลาเหลือสำหรัũด้านการเรียน แต่สุดท้ายเขาก็สามารถสอบผ่านได้

เขาได้ก่อตั้งชมรมช่วยเหลือ ที่มีชื่อว่า "วิลลี่ ช่วย" ซึ่งมีประมาณ 100 คน จาก 15 ประเทศ​ ส่วนใหญ่แล้วเป็นชาวเยอรมันนี พวกเขาบินไปประเทศไทยด้วยค่าใช้จ่ายส่วนตัว เũื่อที่จะไปช่วยเหลือการก่อสร้าง เงินอีก 500.000 ยูโร ซึ่งเป็นเงินบริจาคจาคผู้ใจดี ซึ่งเงินจำนวนนี้เป็นเงินที่ใช้จ่ายต่างๆสำหรับโครงการช่วยเหลือ คนเยอรมันนีไม่ไ ด้ลืมวิลลี่ พวกเขายังเชื่อใจในตัวของเขา นีกกีฬาโอลิมปิก และรู้ว่าเงินบริจาคของพวกเขานั้นจะถูกใช้อย่างมีประโยชน์ เกิดขึ้น เขาจūไม่ได้จับดาบเซเบลอีกก็ตาม

หลังจากที่การสร้างบ้านของหมู่บ้านเสร็จแล้ว เขาก็เริ่มคิดโครงการที่จะทำให้พวกชาวบ้านมีอนาคตที่ดีกว่าเดิม ทั้งๆที่เขาต้องศึกษาต่อ มีหลายโครงการที่เขาได ้คิดเอาไว้ อย่างเช่น การสร้างเรือ, สร้างบริษัทขายเครื่องก่อสร้าง, รีสอร์ท, โรงเรียน, การสร้างงานฝีมือ และ ที่เก็บนำ้ และทุกอย่างนี้ควรจะเป็นลากฐานให้กับพวกชɺวบ้านที่มีประมาณ 100 คน ซึ่งตั้งแต่ต้นปี 2549 เป็นต้นไปพวกเขาควรที่จะเริ่มทำอะไรได้ด้วยตัวเอง เขายังได้สร้างบ้านอีกจำนวน 18 หลัง สำหรับพวกชาวบ้านที่สูญเสียทุกอย่างไป ทางสมาคม Don-Bosco-Stiftung ได้มอบรางวัล Phillippas Engel เป็นการตอบแทนถึงการทำงานของเขา

คนเดินทางระหว่างโลก

คนหลายคนคิดว่าเขาเป็นวีรบุรุษ แต่ตริงๆแล้วเขาไม่ใช่ ทุกอย่างที่เกิดขึ้นนั้นรวมแล้วมาจาก ความบังเอิญ การเล้ียงดู ด้านการเงิน และหัวใจ

ความบังเอิญต้องการให้เขา วิลลี่ โคธนี่ ถูกรับเป็นบุตรบุญธรรมของนักหนังสือพิมพ์ชาวเยอรมัน ด้วยเหตุนี้ทำให้เขาได้มีโอกาศในด้านการศึกษาที่ แต่เขาก็ใช้โอŦาศที่ดีนี้ในตอนแรกๆไม่ค่อยมาก ในสมุดบรรทึกผลการเรียนของเขานั้น บ่อยครั้งที่เขาทำได้เกรด 5 เกรด 6 หลังจากที่เขาได้รับสองเหรียญทองแดง เขาก็คิดว่า "ในฐานะที่ผɩได้รับเหรียญรางวัล ผมจะสอบขั้นมัธยมตอนปลายตกไม่ได้" หลังจากนั้นเขาก็ทำเกรดได้ไม่เลย เกรด 3  ต้องขอบคุณกีฬา ที่ทำให้เขาดีขึ้น

ทางด้านภาษาก็ไม่ต่างอะไรมากไปกว่าด้านการเรียน เมื่อตอนที่วิลลี่เป็นเด็กหนุ่มนั้น เขาไม่อยากที่จะเรียนภาษาไทย เขาเคยพูดว่า "ผมเป็นคนเยอรมันนี" ในกลุ่มญาıิๆจะไม่มีวิลลี่ เพราะว่าพวกเขาคิดว่า วิลลี่ เป็น"ลูกฝรั่ง" เขายังไม่ยอมเล่นกับนักเรียนคนไทยด้วยกัน แต่พ่อของเขาก็ออกอุบายเพื่อที่จะให้เขายอมเรียนภาษาไทŰ พ่อของเขาได้พาเขามากรุงเทพเมื่อตอนที่เขาอายุได้ประมาณ 13 ปี เขาได้ไปดูสมาคมฟันดาบของไทย และเขายังได้ทำการแข่งขันกับนักกีฬาไทยทั้งทีม ผลออกมาก็คือชนะ สองŃันหลังจากนั้นเขาก็ได้เป็นแชมป์ประเทศไทย แต่เขาก็ต้องสละสิทธิ เนื่องจากว่าเขาไม่ใช่คนไทย จริงๆแล้วเขาไม่มีสิทธิเข้าทำการแข่งขันด้วยซำ้ไป แต่จริงๆแล้วเข าไม่ทราบว่าเป็นการแข่งขันชิงแชมป์ หลังจากนั้นเขาก็ทำการติดต่อกับนักกีฬาฟันดาบของไทยเรื่อยมา เขาถูกเชิญให้ไปทำการแข่งขันที่กรุงเทพบ่อยครั้ง ด้วยเหตุŨี้เองทำให้เขาได้เรียนภาษาไทย ภาษาแม่ของเขา

อีกอย่างที่เขาได้จากการติดต่อกับคนไทย เขาได้เรียนรู้ถึงวัฒนธรรม และนิสัยของบ้านเกิดของเขา วิลลี่เริ่มที่จะเดินทางระหว่างโลก:เป็นนักการทูตเยอรมันนีในประเทศไทย และเป็นนักการทูตไทยในประเทศเยอรมันนี ซึ่งดูแล้วก็พอจะเข้าใจว่า ทำไมเขาถึงอยากจะให้โครงการช่วยเหลือของเขาดำเนินการไปด้วยดี ตอนกลางคืนเขาก็จะคŔยกับพวกชาวบ้านถึงเรื่องต่างๆ และให้พวกชาวบ้านตัดสินใจว่า พวกชาวบ้านอยากจะให้หมู่บ้านของพวกเขาเป็นอย่างไร พวกชาวมอร์แกนเป็นนาย พวกเราเป็นแค่คนคอยช่วยเห ลือ และในตอนทานอาหารเช้าเขาก็ยังได้สอนภาษาไทยเล็กๆน้อยๆให้กับพวกชาวต่างชาติที่มาคอยช่วยเหลือ ซึ่งทำให้พวกชาวบ้านเปิดใจกว้างขึ้น

วิลลี่ ยังทำมากกว่านั้น เนื่องจากว่าพวกชาวมอร์แกนเป็นไทยใหม่ ซึ่งเป็นชาวบ้านที่อยู่อีกระดับหนึ่ง ที่ไม่คอยจะได้รับการดูแลช่วยเหลือ แต่เขาก็มอบความภูมūใจให้กับพวกชาวบ้าน โดยการเชิญ นายพลเอก ชัยสิทธิ สินาวัฒทรา  ให้มาร่วมฉลองการเปิดรีสอร์ท เมื่อพลเอกมา พวกผู้สื่อข่าวก็จะมาด้วย ไม่ว่าจะเป็นสถานีวิทยุหรือรŬยการโทรทัศน์ ตลอดปีจะเห็นภาพการรายงานการช่วยเหลือของวิลลี่ โคธนี่ ซึ่งมีมากกว่า 50 การรายงานข่าว และมีมากกว่า 200 ข่าวที่ออกทางด้านหนังสือพิมพ์ และสื่อต่างๆกŭต้องแปลกใจเมื่อได้เห็น นักศีกษาอย่างเขา ที่สามารถสร้างบ้าน 50 หลัง พร้อมปะปา และคลองปล่อยนำ้เสีย เรืออีก 20 ลำ รีสอร์ทหนึ่งรีสอร์ท และบริษัทสิ่งก่อสร้าง...

สุดท้ายวิลลี่ก็ถูกเรียกว่าคุณ

เป็นเรื่องหนึ่งเรื่องที่จบลงด้วยดี? ใช่และไม่ใช่ ใช่ ก็เพราะว่าวิลลี่ได้ช่วยหมู่บ้านชาวประมงหนึ่งหมู่บ้านที่ถูกพังเสียหาย ให้กลับมาดำเนินชีวิตได้เหมืŪนเดิม ใช่ เพราะว่าในระหว่างที่เขาทำโครงการนี้เขาได้กลายเป็นพ่อคน เขาได้ตั้งชื่อลูกชายของเขาว่า มอร์แกน ซึ่งเป็นชื่อที่พวกชาวบ้านเรียกกลุ่มของพวกเขา

ไม่ไช่ เพราะว่า เมื่อต้นปี 2549 ทางชมรมขาดเงินทบทุนโครงการ เนื่องจากว่า มีการสร้างบ้านเพิ่มอีกจำนวน 20 หลัง จึงทำให้ขาดเงินอีกจำนวน 20.000 ยูโร ซึ่งเป็นจำนวนเงินใช้สร้ างศูนย์ครอมเพรค ซึ่งศูนย์นี้จะมีเอาไว้สำหรับพวกชาวบ้านและนักท่องเที่ยว โรงเรียนก็จะมีอยู่ในศูนย์​ด้วย รวมทั้งร้านอาหาร พิพิธภัณฑ์ และวิลลี่ก็สามารถหาŦนช่วยสนับสนุนโครงการที่ได้อีก ทาง IHK โคปแลนซ์ ได้มอบเงินบริจาคให้อีก 10.000 ยูโร แต่ว่า ใครจะช่วยจ่ายส่วนที่เหลือ ในระหว่างนี้ วิลลี่ สามารถกลับมาทำการแข่งขันฟันดา บอีกครั้ง และก็สามารถคว้าสองเหรียญทองแดงจากการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ที่โดฮามาได้ เขาได้รับเงิน 10.000 ยูโร เป็นเงินรางวัลทึ่เขาสามารถคว้าเหรียญรางวัลมาได้และเงินจำนวนนี้ก็ถูกนำมาสมทบการก่อสร้างก่อน เพื่อที่ทุกอย่างจะได้เสร็จตามที่กำหนดเอาไว้ จนกว่าจะมีคนช่วยบริจาคเงินช่วยเหลืออีกในตอนหลัง เพราะว่าการสŤงมอบโครงการสุดท้ายได้ตั้งเอาไว้ในวันที่ 7 มกราคมที่จะถึงนี้

วิลลี่ ทำงานของเขาได้อย่างดี เขาทุ่มทั้งพลังกาย และพลังใจ เขาทิ้งห้องเรียนของเขาเพื่อไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย หยุดทางด้านการกีฬาของเขา และสุดท้ายเขายังอűกเงินช่วยเหลือก่อน ทั้งๆที่เขาไม่มีรายได้ แถมยังมีครอบครัวที่เขาต้องเล้ียงดูอีก ดังนั้นพวกคนไทยจึงมอบคำว่า คุณ เพื่อเป็นการตอบแทน

ช่วยบริจาคในส่วนที่เหลือได้ที่ "ชมรม วิลลี่ ช่วย" VoBa Koblenz Mittelrhein, 570 900 00. Konto : 120 7337 010

(สามารถดูได้ที่ www.kothny.de และ www.morganholiday.de).




  « ข่าวหน้าก่อน ข่าวเก่า ข่าวหน้าต่อไป »